วันศุกร์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2554

แบบทดสอบการเรียนโปรแกรมภาษาHtml


แบบทดสอบการเขียนโปรแกรมภาษาHTML

รายชื่อนักศึการะดับ ปวส.1 สทส.1

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ประจำภาคเรียนที่1/2554

ลำดับชื่อ-สกุลชื่อเว็บไซต์บล็อก
1นายศิริศักดิ์ วิสัยhttp://sirisakwisai.blogspot.com/
2นางสาวศิริพร พงษ์ขุนทดhttp://fakedivazzz.blogspot.com/
3นางสาวอรไท ดอกยี่สุ่นhttp://dokyeesun.blogspot.com/
4นางสาวเกศริน บุญสาhttp://kboonsa.blogspot.com/
5นางสาวศรายุธ ปรีชาวินิจกุลhttp://ohlor.blogspot.com/
6นางสาวนิรมล ยิ้มเรืองhttp://iceniramon.blogspot.com/
7นางสาววาสนา หิรัญมูลhttp://parela20.blogspot.com/
8นายภาณุพันธ์ ปราณีhttp://panupan32.blogspot.com/
9นายขันติ เข็มทองhttp://jojoget777.blogspot.com/
10นางสาวพิมชนก เจริญสุขhttp://furnpimchanok.blogspot.com/
11นางสาวอรวรุณ มุสิกะทัตhttp://numfon00prem.blogspot.com/
12นางสาววิภาวรรณ ฉายชูวงศ์http://vipawansts.blogspot.com/
13นายศราวุธ หมวกไหมhttp://toomtamdisny.blogspot.com/
14นายเอกชนะ พรกฤษฎานันท์http://tongplaying.blogspot.com/
15นายชินดนัย เสมอเหมือนhttp://promkcc.blogspot.com/
16นายธันวา ไชยเดชhttp://jonaja.blogspot.com/
17นายพงศกร นามสุดใจhttp://piingpong48.blogspot.com/
18นายศุภชัย ภิยะแพทย์http://suppachai-artzii.blogspot.com/
19นายอภิศักดิ์ กองศรีhttp://exromantic.blogspot.com/
20นายภูวเดช โสภณธนยศhttp://phuwadhej.blogspot.com/

วันพุธที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

วิชาโปรแกรมคอมพิวเตอร์1

แบบฝึกหัดบทที่1

วิชาสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์

แบบฝึกหัดบทที่1

วิชาระบบฐานข้อมูล


แบบฝึกหัด บทที่ 5

การสร้างรายงาน (REPORT)
ตอนที่ 1  แบบปรนัย
1.   ข้อใดต่อไปนี้ไม่ได้จัดอยู่ในประเภทของรายงาน
ตอบ        ง. Chat
2.   มุมมองของรายงานที่เพิ่มเข้ามาใหม่ใน Access 2007 คือมุมมองใด
ตอบ        ก. Layout View
3.  Page Footer คือส่วนใด
ตอบ         ค.ส่วนที่ต้องการแสดงผลข้อมูลให้ปรากฏอยู่ที่ส่วนท้ายของทุกๆหน้ารายงาน
4   หลังจากแทรกชื่อเรื่อง(Title)ของรายงานแล้ว จะแสดงพื้นที่ส่วนใดของรายงานให้อัตโนมัติ
ตอบ        ง.ถูกทุกข้อ
5.  ผลลัพธ์ในการสร้างรายงานแบบอัตโนมัติจะมีลักษณะของรายงานเป็นแบบใด
ตอบ        ง. Label
6.  ถ้าต้องการสร้างรายงานโดยให้มีการจัดกลุ่มของข้อมูลด้วย จะต้องสร้างรายงานด้วยวิธีใด
ตอบ         ง. ถูกทุกข้อ
7.  ถ้าต้องการสรุปข้อมูลในรายงานโดยให้แสดงอยู่ที่ส่วนท้ายสุดของรายงานจะต้องกำหนดที่ตำแหน่งใด
ตอบ         ข. Page Footer
8.  ในการป้อนข้อมูลสูตรฟังก์ชั่นจะต้องใช้เครื่องมือใด
ตอบ        ข. Text box
9.  ฟังก์ชั่นใดที่ใช้ในการหาค่าเฉลี่ยของข้อมูล
ตอบ        ง. Avg
10.  ข้อใดต่อไปนี้เป็นการเขียนสูตรฟังก์ชั่นในการหาผลรวมของฟิลด์เงินเดือน
ตอบ        ข.= Sum ([Salary])
ตอนที่ 2  จับคู่
1.      ฌ    Columnar Report                     ก.ส่วนในการแสดงฟิลด์ข้อมูลที่ดึงมาจากตาราง
2.      จ     Tabular Report                        ข.รายละเอียดในส่วนหัวรายงานที่แสดงในหน้าแรก
3.      ฉ     Label Report                           ค.แสดงเลขหน้าปัจจุบัน
4.      ญ    Page Header                           ง.รวมข้อมูลทั้งหมด
5.       ข   Report Header                        จ.แสดงข้อมูลทุกเรคอร์ดใน 1 หน้ารายงาน
6.       ก     Detail                                      ฉ.พิมพ์ป้ายฉลากติดซองจดหมาย
7.       ช    Pages                                      ช.แสดงเลขหน้าทั้งหมด
8.       ค    Page                                        ซ.แสดงข้อมูลโดยเรียงฟิลด์แต่ละเรคคอร์ดจากบนลงล่าง
9.      ง      Sum                                          ฌ.นับจำนวนทั้งหมด
10.    ซ     Count                                        ญ.รายละเอียดในส่วนหัวรายงานที่แสดงทุกหน้าของรายงาน

    ตอนที่ 3 แบบอัตนัย
1. การสร้างรายงานมีกี่แบบ อะไรบ้าง และแต่ละแบบมีประโยชน์อย่างไร
ตอบ   มี 3 แบบ คือ
   1. รายงานแบบคอลัมน์ (Columnar Report) เรียงฟิลด์แต่ละเรคคอร์ดจากบนลงล่างทีละ 1 เรคคอร์ด
   2. รายงานแบบตาราง (Tabular Report) แสดงแบบแถวและคอลัมน์ แสดงข้อมูลทุกเรคคอร์ดใน 1 หน้ารายงาน
      โดยเรียงจากซ้ายไปทางขวาของรายงาน
   3. รายงานแบบป้ายชื่อ (Label Report) สำหรับพิมพ์ป้ายฉลากต่าง ๆ เช่น ฉลากติดซองจดหมาย เป็นต้น
2.  จงบอกถึงส่วนประกอบของรายงาน และแต่ละส่วนมีหน้าที่อะไร
ตอบ       1.  Report Header คือ พื้นที่ในส่วนหัวของรายงาน เป็นส่วนที่ใช้ในการแสดงข้อความหรือรายละเอียดที่ต้องการแสดงในหน้าแรกของรายงานเท่านั้น เช่น โลโก้ของรายงาน แสดงชื่อรายงาน เป็นต้น
      2.Page Header คือ พื้นที่ในส่วนหัวของหน้ากระดาษ เป็นส่วนที่ใช้ในการแสดงข้อความหรือรายละเอียดที่ต้องการแสดงในทุกๆหน้าของรายงาน เช่น แสดงชื่อกำกับฟิลด์(รายงานแบบตาราง) แสดงเลขหน้าเป็นต้น
      3. Detail คือ พื้นที่ในการแสดงข้อมูลที่ดึงมาจากฐานข้อมูล ทั้งในตารางและในแบบสอบถามข้อมูล
      4. Page Footer คือ พื้นที่ในส่วนท้ายของกระดาษ เป็นส่วนที่ใช้ในการแสดงข้อความ
 หรือรายละเอียดที่ต้องการแสดงในทุกๆหน้าของรายงาน เช่น แสดงเลขหน้า เป็นต้น
       5. Report Footer คือ พื้นที่ในส่วนท้ายของรายงาน เป็นส่วนที่ใช้ในการแสดงข้อความหรือรายละเอียดที่ต้องการแสดงในหน้าสุดท้ายของรายงานเท่านั้น เช่น แสดงผลการคำนวณ แสดงวันที่จัดพิมพ์ เป็นต้น
        3.  จงอธิบายขั้นตอนการสร้างรายงานแบบ Report Wizard
         ตอบ    1. คลิกที่แท็บ Create
  2.คลิกเลือก Report Wizard ในกลุ่มของ Reports
  3.เลือกตารางหรือแบบสอบถามข้อมูลที่ต้องการนำมาสร้างรายงาน
 4.คลิกเลือกฟิลด์ที่ต้องการ แล้วคลิกปุ่ม > เพื่อเลือกทีละฟิลด์ หรือคลิกปุ่ม >> เพื่อนเลือกฟิลด์ทั้งหมด
 5.แล้วคลิกปุ่ม Next>
 6.เลือกข้อมูลที่ต้องการแสดงรายละเอียด
 7.แล้วคลิกปุ่ม Next>
 8.เลือกฟิลด์ที่ต้องการ แบ่งกลุ่มข้อมูล แล้วคลิกที่ปุ่ม >เพื่อเลือกฟิลด์
 9.แล้วคลิกปุ่ม Next>
 10.เลือกฟิลด์ที่ต้องการเรียงลำดับ ถ้าต้องการเรียงลำดับข้อมูลจากน้อยไปหามากให้คลิกที่ปุ่ม Ascendingและคลิกที่ปุ่มDescending  ถ้าต้องการเรียนจากมากไปหาน้อย
 11.แล้วคลิกปุ่ม Next>
 12. เลือกรูปแบบตำแหน่งการจัดวางรายงานที่ Layoutและที่Orientationเลือกแนวกระดาษเลือก Portraitสำหรับแนวตั้งและ Landscape สำหรับแนวนอน
 13.แล้วคลิกปุ่ม Next>
 14.เลือกสไตล์หรือรูปแบบรายงานที่ต้องการ
 15.แล้วคลิกปุ่ม Next>
 16.ตั้งชื่อรายงานที่ต้องการ และเลือกการแสดงผลรายงานในมุมมองตัวอย่างก่อนพิมพ์หรือมุมมองในการแก้ไขรายงาน
 17.แล้วคลิกปุ่ม Finish
       4.อธิบายขั้นตอนการสร้างรายงานแบบ Label Wizard
ตอบ  1. คลิกที่แท็บ Create
2.เลือกตารางหรือแบบสอบถามข้อมูลที่ต้องการนำมาสร้างเลเบล
3.คลิกที่ปุ่ม Labelsในกลุ่มของ Reports จากนั้นจะแสดงหน้าจอให้เลือกขนาดของเลเบล
4.เลือกขนาดของแถบที่ต้องการ ซึ่งถ้าหารต้องการกำหนดขนาดของเลเบลใหม่ให้คลิกที่ปุ่ม Customize แล้วกำหนดขนาดใหม่
5.แล้วคลิกปุ่ม Next>
6.กำหนดรูปแบบที่ต้องการแสดง
7.แล้วคลิกปุ่ม Next>
8.คลิกเลือกฟิลด์ที่ต้องการแสดงในเลเบล โดยคลิกปุ่ม > เพื่อเลือกข้อมูล ซึ่งถ้าหากต้องการเว้นวรรคในแต่ละฟิลด์ ให้กดปุ่ม Spacebar ที่แป้นพิมพ์ และถ้าต้องการขึ้นบรรทัดใหม่ก็สามารถกดปุ่ม Enterได้
9.แล้วคลิกปุ่ม Next>
10.เลือกฟิลด์ที่ต้องการเรียงลำดับข้อมูลใน เลเบล โดยคลิกปุ่ม > เพื่อเลือกฟิลด์ข้อมูล
11.แล้วคลิกปุ่ม Next>
12.ตั้งชื่อรายงานและเลือกการแสดงผล เลเบล ในมุมมองตัวอย่างก่อนพิมพ์หรือมุมมองในการแก้ไขเลเบล
13.แล้วคลิกปุ่ม Finish
5.จงบอกถึงข้อดีและข้อเสียของรายงานแบบอัตโนมัติ
ตอบ        ข้อดี                                        ข้อเสีย
                -สะดวกรวดเร็ว                      - ไม่สามารถแก้ไขข้อมูลในตารางได้ในขณะที่พิมพ์ออกมาได้แบบฟอร์ม
                -สามารถคำนวณข้อมูลได้
                -สามารถพิมพ์ออกมาได้



ความหมายของฐานข้อมูล (Database)
ฐานข้อมูล หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กั
ระบบฐานข้อมูล หมายถึง  ระบบการจัดเก็บข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน เกี่ยวข้องเป็นเรื่องเดียวกันรูปแบบเป็นระเบียบแบบแผน และจัดเก็บไว้ในที่เดียวกัน
 ระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS)Database Management System
 หมายถึง  โปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการกำหนดลักษณะ ข้อมูลที่จะเก็บไว้ในฐานข้อมูล เพื่ออำนวยความสะดวกในการบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูล   
  เสมือนเป็นตัวกลางระหว่าง ผู้ใช้กับฐานข้อมูล                     



1.สรุปเนื้อหาหน่วยที่1
ระบบฐานข้อมูลคือระบบการจัดเก็บข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันเกี่ยวข้องเป็นเรื่องเดียวกันโดยมีรูปแบบการจัดเก็บที่เป็นระเบียบแบบแผน และจัดเก็บไว้ในที่เดียวกันทำให้แต่ละหน่วยงานสามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้และสามารถแก้ไขปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นได้เมื่อมีการปรับปรุงข้อมูลก็สามารถทำได้โดยผ่านตัวกลางที่เรียกว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล
ระบบจัดการฐานข้อมูล คือโปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการกำหนดลักษณะข้อมูลที่จะเก็บไว้ฐานข้อมูลเพื่ออำนวยความสะดวกในการบันทึกลงในฐานข้อมูลกำหนดผู้ที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ฐานข้อมูลได้พร้อมกับกำหนดด้วยว่าให้ใช้ได้แบบใด
ประโยชน์ในการใช้ระบบฐานข้อมูล
    เมื่อมีการนำระบบจักการฐานข้อมูลมาใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในการบันทึกข้อมูลแก้ไขปรับปรุงข้อมูลค้อนหาข้อมูลรวมทั้งกำหนดผู้ที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ฐานข้อมูลเป็นต้นทำให้ฐานข้อมูลมีประโยชน์มากมายได้แก่
1.ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล เมื่อมีข้อมูลของหน่วยงานซึ่งจัดเก็บไว้หลายที่ อาจมีข้อมูลในส่วนที่เหมือนกันหลายส่วนเช่น ฝ่ายบัญชี เก็บข้อมูล ชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ของพนักงาน และฝ่ายบุคคล เมื่อนำคอมพิวเตอร์มาใช้จัดเก็บข้อมูลให้อยู่ในรูปของฐานข้อมูลจะทำให้ไม่เก็บข้อมูลซ้าซ้อนกัน
2.ทำให้เกิดความสอดคล้องของข้อมูล ถ้ามีการแก้ชื่อ ที่อยู่ ที่ฝ่ายบุคคล ชื่อและที่อยู่ที่ฝ่ายบัญชีก๊จะถูกเปลี่ยนแปลงไปด้วย เนื่องจากฝ่ายบัญชีจะดึงข้อมูลชื่อและที่อยู่จากฝ่ายบุคคลมาใช้ดังนั้นเมื่อมีการแก้ไขข้อมูลในที่ใดที่หนึ่งข้อมูลอีกที่หนึ่งก็จะถูกเปลี่ยนไปด้วย
3.ควบคุมความถูกต้องของข้อมูล ผู้บริหารระบบฐานข้อมูลสามารถกำหนดกฏเกณฑ์เพื่อให้มีความถูกต้อง
4.สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ การเก็บข้อมูลเดียวกันจะสามารถกำหนดรูปแบบที่แน่นอได้และแต่ละฝ่ายสามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้เพราะเป็นมาตรฐานเดียวกัน
5.มีความปลอดภัย การที่ใช้ข้อมูลมารวมอยู่ในที่เดียวกัน สามรถวางมาตรฐานในการแก้ไขและป้องกันได้ดีกว่า สามารถกำหนรหัสผ่านเข้าใช้งานข้อมูลของผู้ใช้แต่ละรายโดยระบบจัดการฐานข้อมูลจะทการตรวจสอบสิทธิ์ในการทำงานกับข้อมูล
6.ขจัดความขัดแย้งในการใช้ข้อมูลร่วมกัน ก่อนที่จะมีการจัดเก็บข้อมูล ต้องมีการตกลงรูปแบบการเก็บอย่างเป็นเอกฉันท์เสียก่อน ทำให้ไม่เวลาในการพัฒนาระบบฐานระบบ
7.ข้อมูลที่จัดเก็บมีความทันสมัย  เมื่อข้อมูลในระบบฐานข้อมูลได้รับการดูแลปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ทำให้ข้อมูลที่จัดเก็บเป็นข้อมูลที่มีความทันสมัย ตรงกับเหตุการณ์ในปัจจุบัน และตรงกับความต้องการอยู่เสมอ
       แต่อย่างไรก็ตามในการฐานข้อมูลนั้น ถึงแม้ว่าการประมวลผลด้วยระบบจัดการฐานข้อมูลจะมีข้อดีหลายประการ แต่ก็มีข้อเสียอยู่บ้างดังต่อไปนี้
1.เสียค่าใช้จ่ายสูง เนื่องจากโปรแกรมที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูลจะมีราคาค่อนข้างแพงรวมทั้งเครื่องพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง
2.เกิดความสูญเสียข้อมูลได้ เนื่องจากข้อมูลต่างๆ ภายในฐานข้อมูลจะถูกจัดเก็บอยู่ในที่เดียวกัน ดังนั้นถ้ามีการจัดเก็บข้อมูลเกิดมีปัญหา อาจทำให้ต้องสูญเสียข้อมูลทั้งหมดในฐานข้อมูลได้ ดังนั้นการจัดทำฐานข้อมูลที่ดีต้องมีการสำรองข้อมูลไว้เสมอ
หลักออกแบบฐานข้อมูล
ก่อนที่เราจะเริ่มสร้างฐานข้อมูลนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำการออกแบบฐานข้อมูลเสียก่อน ว่าข้อมูลที่จะนำมาเก็บในฐานข้อมูลประกอบไปด้วยอะไรบ้างและมีการจัดเก็บในรูปแบบใดแล้วค่อยเริ่มต้นสร้างฐานข้อมูลซึ่งขั้นตอนในการออกแบบฐานข้อมูลนั้นมีข้อมูลนั้นมีขั้นตอนดังต่อไปนี้
1.กำหนดวัตถุประสงค์ในการสร้างระบบฐานข้อมูล ว่าต้องการใช้จัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องใด
2.กำหนดวัตถุประสงค์ในการสร้างฐานข้อมูล
3.สอบถามความต้องการของผู้ใช้ว่าจะต้องป้อนข้อมูลใดบ้างเข้าสู่ระบบ และผลลัพธ์ที่ได้ออกมาจากระบบว่าต้องการอะไรบ้าง
4.วิเคราะห์และรวบรวมข้อมูลที่จำเป็นทั้งหมด
5.จัดกลุ่มข้อมูลที่ต้องการเก็บในระบบฐานข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบของตารางโดยพจารณาจากความสัมพันธ์ว่าเป็นเรื่องเดียวกันหรือไม่
6.วิเคราะห์ข้อมูลแต่ละตาราง เพื่อกำหนดเขคข้อมูลหรือฟิลต์ข้อมูลให้ครบถ้วน
7.พิจารณาเขตข้อมูลหลักหรือฟิลต์หลักของแต่ละตาราง
8.วิเคราะห์โครงสร้างข้อมูลที่ได้ตามหลักการNormalization เพื่อให้ได้ตารางข้อมูลที่มีโครงสร้างไม่ซับซ้อนและถูกต้อง
9.กำหนดชนิดข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บว่าอยู่ในรูปแบบใด
10.กำหนดความสัมพันธ์ของข้อมูลในฐานข้อมูล
11.ออกแบบหน้าจอการใช้งาน
กฎการ Normalization
กฎการ Normalization เป็นกฎที่ใช้ในการออกแบบตาราง เพื่อลดความซ้ำซ้อน Normalization แก้ไขตารางได้ง่ายและถ้าเปลี่ยนแปปลงข้อมูล จะมีผลกระทบต่อข้อมูลอื่นน้อยที่สุด โดยทั่วไปแล้ว เราใช้กฎ Normalization เพียง3ข้อ ก๊เพียงพอในการออกแบบตารางโดยทั่วไปแล้วจากละเอียดทั่งหมด4ข้อดังนี้
1.กฎข้อที่ 1กล่าวว่าจะต้องไม่มีเซลล์ใดในตารางที่มีค่าเกิน1ค่า ดังนั้นเราสามารถทำให้ตารางผ่านกฎข้อที่1 ได้โดยการแยกเซลล์ที่มีค่าเกินหนึ่งออกเป็นเรคอร์ดใหม่
2.กฎขอที่ 2กล่าวว่าตารางที่ผ่านที่ผ่านกฎข้อที่2จะต้องไม่มีแอตตริบิวต์ หรือฟิลต์ที่ไม่ใช้คีย์หลักไปผสมหรือปนอยู่กับส่วนใดส่วนหนึ่งของคีย์หลักจะต้องมีคีย์หลักเต็มๆ เท่านั้น
3.กฎข้อที่ 3กล่าวว่าตารางที่ผ่านกฎข้อที่3จะต้องไม่มีแอตตริบิลต์ใดที่ขึ้นกับแอตตริบิวต์อื่นที่ไม่ใช่คีย์หลัก การแก้ไขให้ผ่านกฎข้อนี้ทำได้โดยแยกตารางออกมาสร้างตารางใหม่
4.กฎข้อที่ 4กล่าวว่าตารางที่ผ่านกฎข้อที่4จะต้องไม่มีการขึ้นต่อกันแบบเชิงกลุ่ม ซึ่งเป็นความสัมพันธ์แบบMany-to-Manyภายในตารางเดียวกัน
ความสามารถของMicrosoft Access2007
1.สร้างแอปพลิเคชั่นฐานข้อมูลต่างๆเช่น ฐานข้อมูลพนักงาน ฐานข้อมูลสินค้า ฐานข้อมูลนักเรียนเป็นต้น
2.สามารถสร้างตารางเก็บข้อมูลและออกแบบโครงสร้างของข้อมูลได้
3.มีเครื่องมือที่ช่วยในการสอบถามข้อมูลจากฐานข้อมูลและสามมารถคำนวณหาผลพันธ์ได้อีกด้วย
4.มีเครื่องฟอร์มที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถจัดการข้อมูลได้สะดวกและง่ายยิ่งขึ้น
5.สามารถสรุปรายงานออกมาเป็นรูปแบบต่างๆ
6.มีแม่แบบและเครื่องช่วยที่ช่วยในการสร้างฐานข้อมูลให้สะดวกยิ่งขึ้น
7.สามารถนำข้อมูลเข้าจากฐานข้อมูลอื่นหรือส่งข้อมูลออกไปยังฐานข้อมูลอื่นได้
8.สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลด้วยWindows SharePoint Services เพื่อแบ่งปันข้อมูลAccess 2007 กับทุกคนในทีมได้
ตอนที่1
1.ระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS) คืออะไร
ข.ตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับฐานข้อมูล
2.หลังจากที่สร้างฐานข้อมูลแล้ว จะต้องสร้างออบเจ็กต์ใดเป็นอันดับแรก
ก.Table
3.ออบเจ็กต์ใดที่ทำหน้าที่ในการเก็บข้อมูลทั้งหมดลงฐานข้อมูล
ค.Form
4.ออบเจ็กต์ Query มีหน้าที่ทำอะไร
ค.สร้างแบบสอบถามข้อมูล
5.ข้อใดต่อไปนี้เป็นหน้าที่ของออบเจ็กต์ Form
ข.เก็บข้อมูลลงฐานข้อมูล
6.ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ กฏของการ Normalization
ข.จะต้องมีความสัมพันธ์แบบเชิงกลุ่ม(Many to Many)
7.ข้อใด ไม่ใช่ ประโยชน์ที่ได้รับของระบบฐานข้อมูล
ค.ข้อมูลที่จัดเก็บมีความทันสมัย
8.ขั้นตอนใดต่อไปนี้เป็นขั้นตอนแรกในการออกแบบฐานข้อมูล
ก.กำหนดวัตถุประสงค์ในการใช้งาน
9.ส่วนประกอบต่อไปนี้เพิ่มเข้ามาใหม่ใน Access 2007 ยกเว้น ข้อใดง.Ribbon
10.ข้อใดต่อไปนี้ กล่าวผิด
ก.เมื่อบันทึกฐานข้อมูลในAccsee 2007จะมีนามสกุลเป็น.accdb

ตอนที่ 2
1.DBMS  à  ช.ระบบจักการฐานข้อมูล
2.Normlization   à   จ.กฎที่ใช้ในการออกแบบตาราง
3.Office  Botton   à    ซ.ปุ่มที่รวบรวมชุดคำสั่งในการจัดการฐานข้อมูล
4.Quick Access Toolbar   à   ญ.แถบเครื่องมือที่รวบรวมเครื่องมือที่ใช้งานบ่อยๆ
5.Ribbon   à  ฌ.ส่วนการทำงานใหม่ที่เข้ามาแทนที่แถบเมนูและแถบเคื่องมือ
6.Navigation Pane   à   ก.แถบในการแสดงออบเจ็กต์ที่สร้างขึ้น
7.Document Window   à   ค.ส่วนของพื้นที่การทำงานของออบเจ็กต์ต่างๆ
8.Query   à    ข.แบบสอบถามข้อมูล
9.Macro   à    ง.ชุดคำสั่งกระทำการต่างๆ ที่นำมารวมกัน
10.Module   à   ฉ .โปรแกรมย่อยที่เขียนขึ้นภาษา VBA

ตอนที่1
1..ข้อใดกล่าวถึงความหมายของตาราง (Table) ได้ชัดเจนที่สุด
ตอบ     ก. ฐานข้อมูลใน Access
2.ข้อใดต่อไปนี้ กล่าวผิด
ตอบ   ง. Attachment เป็นชนิดข้อมูลสาหรับสร้างจุดเชื่อมโยงไปยังไฟล์
3.ฟิลด์ (Field) หมายถึงอะไร
ตอบ  ค. คอลัมน์
4.เรคอร์ด (Record) หมายถึงอะไร
ตอบ   ข. แถว
5.ชนิดข้อมูลแบบข้อความ (Text) สามารถเก็บข้อมูลได้สูงสุดกี่ตัวอักษร
ตอบ    ค. 255
6.ถ้าต้องการกำหนดฟิลด์ในการเก็บข้อความจำนวนมากๆ จะต้องเลือกชนิดข้อมูลแบบใด
ตอบ  . Memo
7.มุมมองที่ใช้ในการสร้างตารางด้วยการออกแบบเองคือมุมมองใด
ตอบ . Design View
8.ชนิดความสัมพันธ์ของตารางมีกี่แบบ
ตอบ     ค. 255
9.ข้อใดต่อไปนี้ ไม่สามารถ นามาประกอบในการตั้งชื่อฟิลด์ข้อมูลได้
ตอบ    ค. 4 แบบ
10.ถ้าต้องการเรียงลาดับข้อมูลในตารางจากน้อยไปหามาก จะต้องใช้เครื่องมือใด
ตอบ  . Ascending

ตอนที่ 2


1. Field                                   . ข้อมูลในแนวคอลัมน์
2. Record                                . ข้อมูลในแนวแถว
3. Memo                                 . เก็บข้อมูลประเภทข้อความที่มีความยาวมาก ๆ
4. OLE Object                       . เก็บข้อมูลประเภทรูปภาพ
5. Currency                            . เก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลขทางการเงิน
6. Attachment                        . เก็บเอกสารและแฟ้มไบนารี่ทุกชนิดในฐานข้อมูล
7. Input Mask                        . กำหนดรูปแบบในการป้อนข้อมูล
8. Format                               . กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล
9. Descending                      . เรียงลาดับข้อมูลจากมากไปหาน้อย
10. Ascending            . เรียงลาดับข้อมูลจากน้อยไปหามาก
 
ตอนที่3

1. จงอธิบายถึงประโยชน์ที่ได้รับจากการสร้างตาราง
ตอบ     การสร้างตาราง ลงใน เว็บเพจมีประโยชน์มหาศาล เราสามารถ ประยุกต์ นำไปใช้ได้หลายอย่าง เพื่อเป็นการเพิ่มสีสันความสวยงามของเว็บเพจ การสร้างตาราง ในเว็บเพจก็ไม่แตกต่างจากการสร้างตารางบนแผ่นกระดาษทั่ว ๆ ไป เราเคยทำตารางอย่างไร ก็สามารถสั่งให้เว็บเพจของเรา ทำอย่างนั้นได้ เช่นกัน ต่างกันที่ว่าในเว็บเพจเราไม่สามารถที่จะ นำเอาปากกา ดินสอ ไม้บรรทัด หรืออุปกรณ์ สำหรับเขียนตารางเข้าไปเขียนบนจอภาพได้ เราใช้ นิ้วมือของเรา เป็นผู้พิมพ์คำสั่ง สำหรับสร้างตารางขึ้นมา

2. จงบอกถึงคุณสมบัติในการเลือกฟิลด์ข้อมูลที่จะนำมาเป็นคีย์หลัก (Primary Key)
ตอบ   ฟิลด์ที่มีข้อมูลในเรคอร์ดที่ไม่ซ้ำกัน เพื่อเป็นตัวกำหนดให้ทุกเรคอร์ดแตกต่างกันและเป็นฟิลด์ที่ไม่เป็นค่าว่าง คือจะต้องมีค่าอยู่เสมอ เช่นรหัสพนักงาน รหัสประจาตัวนักเรียน เป็นต้น

3.อธิบายถึงความแตกต่างในการสร้างตารางด้วยมุมมองการออกแบบ (Table Design) และมุมมองแผ่นตารางข้อมูล (Datasheet View)
ตอบ มุมมองแผ่นข้อมูล เป็นมุมมองที่แสดงข้อมูลจากตาราง ฟอร์ม แบบสอบถาม วิว หรือ Stored Procedure ในรูปแบบของแถวและคอลัมน์ในมุมมองแผ่นข้อมูล คุณสามารถแก้ไขเขตข้อมูล เพิ่มและลบข้อมูล และค้นหาข้อมูลได้
มุมมองออกแบบ เป็นมุมมองที่แสดงการออกแบบของวัตถุฐานข้อมูลต่อไปนี้ ได้แก่ ตาราง แบบสอบถาม ฟอร์ม รายงาน และแมโคร ในมุมมองออกแบบคุณสามารถสร้างวัตถุฐานข้อมูลใหม่และปรับเปลี่ยนการออกแบบของวัตถุที่มีอยู่แล้วได้

4. จงบอกขั้นตอนในการสร้างตารางมุมมองการออกแบบว่ามีขั้นตอนอย่างไร
       ตอบ     1. คลิกที่แท็บ Create
2. เลือกปุ่มคาสั่ง (Table Design) ในกลุ่มของ Tables จากนั้น Access จะเปิดตารางข้อมูลเปล่าในมุมมองการออกแบบขึ้นมาให้
3. กำหนดฟิลด์ข้อมูล แล้วกด Tab เพื่อเลื่อนไปยังช่องถัดไป
4. เลือกชนิดข้อมูล
5. กำหนดคาอธิบายฟิลด์
6. กำหนดคุณสมบัติของฟิลด์เพิ่มเติม จากนั้นทาข้อที่ 3 ถึงข้อที่ 6 จนครบทุกฟิลด์ที่ต้องการ
7. คลิกปุ่ม Save จาก Quick Access เพื่อบันทึกตาราง
8. กำหนดชื่อตาราง
9. คลิกปุ่ม OK
       10. จากนั้นจะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ให้กำหนดคีย์หลัก (Primary Key) ถ้าคลิกปุ่ม Yes โปรแกรมจะกำหนดฟิลด์ใหม่ขึ้นมาให้ซึ่งเป็นคีย์หลักชื่อว่า ID แต่ถ้าคลิกปุ่ม No จะให้เรากำหนดคีย์หลักเองในภายหลัง ในที่นี้ให้คลิกปุ่ม No
5. ในการสร้างตารางแม่แบบ (Template) มีข้อดีและข้อเสียอย่างไร
ตอบ